พิษวิทยา(Toxicology)
+14
khaw dissaro
fathr
princeofsong
Rightman
Arsanic
milnears
topyok
Mr.freedom
NAMPEUNG
Appnaka
/Charcoal/
Landstad
Nuclear_see
lagafia
18 posters
หน้า 2 จาก 2 • 1, 2
- lagafiaนักวางแผนพิชิตเกม
- จำนวนข้อความ : 3388
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 88
งานอดิเรก : คิดเรื่อยเปื่อย
พิษวิทยา(Toxicology)
Tue Mar 12, 2013 1:51 pm
First topic message reminder :
พิษวิทยา(Toxicology)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสารพิษและกลไกที่สารนั้นมีอิทธิพลต่อระบบพยาธิสรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิตพิษวิทยาจึงเป็นการศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของสารพิษ ผลทางพยาธิสรีรวิทยาและอาการที่แสดงออกของสารพิษเมื่อเข้าสู่สิ่งมีชีวิตรวมทั้งการศึกษาทางด้านวิธีการตรวจวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณของสารพิษที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตและในสิ่งไม่มีชีวิต
สารพิษ(Poisons) หมายถึงสารใดๆก็ตามที่เข้าสู่ร่างกายในปริมาณมากพอที่จะทําให้เกิดอันตรายต่อร่างกายซึ่งอาจทําให้เจ็บป่วยหรือตายได้โดยสารนั้นจะมีผลต่อการทําลายโครงสร้างหรือรบกวนระบบการทํางานของร่างกายประเด็นสําคัญจึงอยู่ที่ขนาดหรือปริมาณของสารที่ร่างกายได้รับ
ดังนั้นสารทุกชนิดสามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้หากร่างกายได้รับสารนั้นในปริมาณที่มากเกินไปถึงแม้โดยปกติสารนั้นจะจัดเป็นสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายก็ตาม เช่น การได้รับน้ําในปริมาณที่มากเกินไปในระยะเวลาจํากัดจะมีผลทําให้เกิดความไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์จนอาจเป็นเหตุให้ตายได้หรือสารบางชนิดที่จัดว่านอกจากจะไม่มีประโยชน์ต่อร่างกายแล้วยังก่อให้เกิดโทษต่อร่างกายด้วย เช่นไซยาไนด์ และสารพิษอื่นๆ ถ้า ร่างกายได้รับเข้าไปในปริมาณน้อยจะไม่เกิดอันตรายต่อร่างกาย เว้นแต่ว่าจะได้รับสารนั้นในปริมาณที่มากขึ้นจนถึงระดับที่ก่อให้เกิดพิษได้ ซึ่งขนาดหรือปริมาณของสารที่ก่อให้เกิดพิษนั้นจะแตกต่างกันตามแต่ละชนิดของสารและค่าที่แตกต่างกันนี้จะเป็นตัวกําหนดระดับความรุนแรงของความเป็นพิษของสารนั้นด้วย
ซึ่งจะแบ่งสารพิษออกเป็น 6 ประเภท ตามขนาดที่ทำให้ตายได้ (lethal dose) ในคนหรือสัตว์ ดังนี้
*ค่า LD50 การวัดความรุนแรงของสารเคมีกำจัดแมลง ใช้หน่วย LD50 (Lethal dose 50%) เป็นหน่วยเปรียบเทียบ หมายถึง จำนวนสารเคมีบริสุทธิ์ 100% (หน่วยเป็นมิลลิกรัม/กิโลกรัม ของน้ำหนักหนูทดลอง) ซึ่งมีผลทำให้หนูทดลอง 100 ตัว มีโอกาสตายประมาณ 50 ตัว เมื่อป้อนสารเคมีชนิดนั้นเข้าทางปาก
จำแนกตามอวัยวะหรือระบบที่สารไปออกฤทธิ์ (Target organ or system)
1. Central nervous system poisons ได้แก่ CNS stimulants เช่น amphetamine , caffeine , strychnine เป็นต้น และ CNS depressants เช่น barbiturate , benzodiazepines , alcohols เป็นต้น
2. Liver poisons ได้แก่ paracetamol , isoniazid เป็นต้น
3. Kidney poisons ได้แก่ gentamicin , amikacin เป็นต้น
4. Lung poisons ได้แก่ ammonia , formaldehyde เป็นต้น
5. Muscle poisons ได้แก่ Smooth muscle poisons เช่น opiates และ Cardiac muscle poisons เช่น digoxin , quinidine , procainamide
6. Poison of the autonomic nervous system เช่น atropine
7. Poison of the blood and hematopoietic organ ได้แก่ antineoplastic agents , chloramphenicol , phenylbutazone , sulfonamide เป็นต้น
จำแนกตามคุณสมบัติทางเคมีหรือฟิสิกส์ของสาร
โดยจะแบ่งสารพิษออกเป็น 5 ประเภท คือ
1. Volatile poisons ได้แก่ alcohols , cyanide , carbonmonoxide เป็นต้น
2. Metallic poisons ได้แก่ lead , mercury , copper เป็นต้น
3. Toxic anions ได้แก่ nitrite , bromide เป็นต้น
4. Poison soluble in organic solvent ได้แก่ ยาชนิดต่างๆ ซึ่งอาจแยกได้เป็น 4 กลุ่ม ตามความเป็นกรดเป็นด่างของยา คือ
- Strong acidic compounds เช่น salicylates
- Weak acidic compounds เช่น barbiturates
- Neutral compounds เช่น meprobamate
- Basic compounds เช่น opiates , strychinine , amphetamine
5. Miscellaneous poisons ได้แก่ สารพิษที่ไม่สามารถจัดเข้าอยู่ใน 4 ประเภทแรก
[color=yellow]
)
credit: http://www.simedbull.com/journal_files/content_pdf/pdf_2515.pdf และ http://sgpt.thai-aip.net/subjects/pathology/toxic.html
พิษวิทยา(Toxicology)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสารพิษและกลไกที่สารนั้นมีอิทธิพลต่อระบบพยาธิสรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิตพิษวิทยาจึงเป็นการศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของสารพิษ ผลทางพยาธิสรีรวิทยาและอาการที่แสดงออกของสารพิษเมื่อเข้าสู่สิ่งมีชีวิตรวมทั้งการศึกษาทางด้านวิธีการตรวจวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณของสารพิษที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตและในสิ่งไม่มีชีวิต
สารพิษ(Poisons) หมายถึงสารใดๆก็ตามที่เข้าสู่ร่างกายในปริมาณมากพอที่จะทําให้เกิดอันตรายต่อร่างกายซึ่งอาจทําให้เจ็บป่วยหรือตายได้โดยสารนั้นจะมีผลต่อการทําลายโครงสร้างหรือรบกวนระบบการทํางานของร่างกายประเด็นสําคัญจึงอยู่ที่ขนาดหรือปริมาณของสารที่ร่างกายได้รับ
ดังนั้นสารทุกชนิดสามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้หากร่างกายได้รับสารนั้นในปริมาณที่มากเกินไปถึงแม้โดยปกติสารนั้นจะจัดเป็นสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายก็ตาม เช่น การได้รับน้ําในปริมาณที่มากเกินไปในระยะเวลาจํากัดจะมีผลทําให้เกิดความไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์จนอาจเป็นเหตุให้ตายได้หรือสารบางชนิดที่จัดว่านอกจากจะไม่มีประโยชน์ต่อร่างกายแล้วยังก่อให้เกิดโทษต่อร่างกายด้วย เช่นไซยาไนด์ และสารพิษอื่นๆ ถ้า ร่างกายได้รับเข้าไปในปริมาณน้อยจะไม่เกิดอันตรายต่อร่างกาย เว้นแต่ว่าจะได้รับสารนั้นในปริมาณที่มากขึ้นจนถึงระดับที่ก่อให้เกิดพิษได้ ซึ่งขนาดหรือปริมาณของสารที่ก่อให้เกิดพิษนั้นจะแตกต่างกันตามแต่ละชนิดของสารและค่าที่แตกต่างกันนี้จะเป็นตัวกําหนดระดับความรุนแรงของความเป็นพิษของสารนั้นด้วย
ซึ่งจะแบ่งสารพิษออกเป็น 6 ประเภท ตามขนาดที่ทำให้ตายได้ (lethal dose) ในคนหรือสัตว์ ดังนี้
Class of poisons | *LD50 | Toxicity rating | ตัวอย่างเคมีสาร |
1. Super toxic poison | < 5 mg/Kg | 6 | Digoxin Atropine Strychnine |
2. Extremely toxic poison | 5 - 50 mg/Kg | 5 | Amphetamine Antihistamines Opiates |
3. Very toxic poison | 50 - 500 mg/Kg | 4 | Dextrometrophan Aminophylline Amiriptyline Diazepam Barbiturates Salicylates Phenothiazines |
4. Moderately toxic poison | 0.5 - 5 g/Kg | 3 | Chlordiazepoxide Diphenylammine Disulfiram Sodium chloride |
5. Slightly toxic poison | 5 -15 g/Kg | 2 | Milk of magnesia Calamine lotion |
6. Practically non-toxic poison | > 15 g/Kg | 1 | Glycerin Kaolin |
จำแนกตามอวัยวะหรือระบบที่สารไปออกฤทธิ์ (Target organ or system)
1. Central nervous system poisons ได้แก่ CNS stimulants เช่น amphetamine , caffeine , strychnine เป็นต้น และ CNS depressants เช่น barbiturate , benzodiazepines , alcohols เป็นต้น
2. Liver poisons ได้แก่ paracetamol , isoniazid เป็นต้น
3. Kidney poisons ได้แก่ gentamicin , amikacin เป็นต้น
4. Lung poisons ได้แก่ ammonia , formaldehyde เป็นต้น
5. Muscle poisons ได้แก่ Smooth muscle poisons เช่น opiates และ Cardiac muscle poisons เช่น digoxin , quinidine , procainamide
6. Poison of the autonomic nervous system เช่น atropine
7. Poison of the blood and hematopoietic organ ได้แก่ antineoplastic agents , chloramphenicol , phenylbutazone , sulfonamide เป็นต้น
จำแนกตามคุณสมบัติทางเคมีหรือฟิสิกส์ของสาร
โดยจะแบ่งสารพิษออกเป็น 5 ประเภท คือ
1. Volatile poisons ได้แก่ alcohols , cyanide , carbonmonoxide เป็นต้น
2. Metallic poisons ได้แก่ lead , mercury , copper เป็นต้น
3. Toxic anions ได้แก่ nitrite , bromide เป็นต้น
4. Poison soluble in organic solvent ได้แก่ ยาชนิดต่างๆ ซึ่งอาจแยกได้เป็น 4 กลุ่ม ตามความเป็นกรดเป็นด่างของยา คือ
- Strong acidic compounds เช่น salicylates
- Weak acidic compounds เช่น barbiturates
- Neutral compounds เช่น meprobamate
- Basic compounds เช่น opiates , strychinine , amphetamine
5. Miscellaneous poisons ได้แก่ สารพิษที่ไม่สามารถจัดเข้าอยู่ใน 4 ประเภทแรก
[color=yellow]
)
credit: http://www.simedbull.com/journal_files/content_pdf/pdf_2515.pdf และ http://sgpt.thai-aip.net/subjects/pathology/toxic.html
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: พิษวิทยา(Toxicology)
Sat Mar 16, 2013 6:24 pm
รายงายตัวค่ะ
/วิชานี้ยากนะ แต่จะตั้งใจเรียนค่ะ
/วิชานี้ยากนะ แต่จะตั้งใจเรียนค่ะ
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: พิษวิทยา(Toxicology)
Sat Mar 16, 2013 7:56 pm
รายงานตัวครับพ้ม ~
-วิชานี้ยากมาก T T
-วิชานี้ยากมาก T T
- BlackZerosนักท่องเที่ยวสุดขอบฟ้า
- จำนวนข้อความ : 207
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 26
วันเกิด : 24/09/1996
งานอดิเรก : นอนกลิ้ง = =
Re: พิษวิทยา(Toxicology)
Sun Mar 17, 2013 10:10 am
รายงานตัวค้าบบ (ยากนิดๆแหะ)
- VIOLET_Sนักเดินทางแห่งสายลม
- จำนวนข้อความ : 71
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 1
Re: พิษวิทยา(Toxicology)
Sun Mar 17, 2013 9:04 pm
รายงานตัวค่าาา
- Mameawนักเดินทางแห่งสายลม
- จำนวนข้อความ : 101
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 10
วันเกิด : 05/09/1997
Re: พิษวิทยา(Toxicology)
Mon Mar 18, 2013 2:09 pm
รายงานตัวค่ะ
- mimozaaนักท่องเที่ยวสุดขอบฟ้า
- จำนวนข้อความ : 277
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 72
วันเกิด : 12/08/1998
งานอดิเรก : YY
Re: พิษวิทยา(Toxicology)
Tue Mar 19, 2013 1:24 pm
มารายงานตัวคะ เนื้อหาวิชานี้ยากมากเลยคะ มายด์ยิ่งเป็นคนไม่เก่งภาษาอังกฤษอยู่ด้วย :> <:
หน้า 2 จาก 2 • 1, 2
Permissions in this forum:
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ