หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
+6
BlackZeros
khaw dissaro
NAMPEUNG
fathr
Landstad
rasit
10 posters
- rasitนักท่องเที่ยวสุดขอบฟ้า
- จำนวนข้อความ : 342
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 153
วันเกิด : 16/02/1997
งานอดิเรก : อ่านหนังสือ,วาดรูป,ดูทีวี,นอน
หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Fri Mar 15, 2013 2:20 pm
หลักสำคัญและความหมายของกฎหมาย
กฎหมายมีหลักสำคัญอยู่ 4 ประการ คือ
1. กฎหมายต้องเป็นคำสั่ง
2. กฎหมายถูกกำหนดขึ้นโดยผู้มีอำนาจในสังคม
3. กฎหมายใช้บังคับและเป็นที่ทราบแก่คนทั่วไป
4. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับแก่ผู้ฝ่าฝืน
พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2544 อธิบายความหมายของกฎหมายไว้ว่า
กฎหมาย คือ กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้นหรือเกิดจากจารีตประเพณี อันเป็นที่ยอมรับนับถือเพื่อใช้ในการบริหารประเทศ
เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ
กฎหมายนั้นมีความหมายหลากหลายไม่มีความหมายตายตัว มีนักวิชาการกฎหมายหลายท่านพยายามให้ความหมายของกฎหมายไว้แตกต่างนอกเหนือจากนี้
เช่น กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฏหมายไทย "กฏหมาย คือ คำสั่งทั้งหลายของผู้ปกครองว่าการแผ่นดินต่อราษฏรทั้งหลาย เมื่อไม่ทำตาม ธรรมดาต้องลงโทษ"
ซึ่งพอสรุปได้ว่า กฎหมาย หมายถึง ข้อบังคับที่ผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐตราขึ้น เพื่อจัดระเบียบทางสังคม ควบคุมความประพฤติของพลเมืองให้อยู่ในข้อบังคับ
หากผู้ใดฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายได้บัญญัติไว้
วิวัฒนาการของกฎหมาย
วิวัฒนาการของกฎหมาย กฎหมายไม่ใช่สิ่งที่หยุดนิ่ง หากแต่มีวิวัฒนาการควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่ง"ทฤษฏีกฎหมายสามชั้น"
ได้แบ่งวิวัฒนาการของกฎหมายออกเป็ย 3 ยุค ดังนี้
1. ยุคกฎหมายชาวบ้าน
2. ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย
3. ยุคกฎหมายเทคนิค
-ยุคกฎหมายชาวบ้าน กฎหมายในยุคนี้เกิดขึ้นพร้อมกับสังคมมนุษย์ กฎหมายมีลักษณะที่ไม่ซับซ้อน เพราะสังคมในยุคนั้นยังไม่พัฒนาเท่าใดนัก
กฎหมายจะปรากฏอยู่ในรูปของจารีตประเพณี ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติอันดีงานของสังคม (The Good Old Law) โดยจารีตประเพณีนั้นมีองค์ประกอบ 2 ประการ ได้แก่
1) ต้องประัพฤติปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและเป็นเวลานาน และ2) ได้รับการยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องและรู้สึกว่าต้องปฏิบัติเช่นนั้น หากไม่ปฏิบัติก็รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่ผิด
กฎหมายชาวบ้านที่ปรากฏในกฎหมายไทย เช่น ห้ามลักทรัพย์ การห้ามฆ่าคน การอุปการะเลี้ยงดูบุตร เป็นต้น
จะสังเกตได้ว่ากฎหมายในยุคนี้เกิดจากเหตุผลธรรมดาของสามัญชนหรือเหตุผลในทางศีลธรรมซึ่งเข้าใจได้ด้วยสามัญสำนึก
-ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย เมื่อสังคมมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น กฎหมายก็สลับซับซ้อนตามไปด้วย กล่าวคือ เมื่อสังคมเกิดปัญหาซับซ้อนขึ้น กฎหมายชาวบ้าวไม่สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขันได้
นักกฎหมายจึงเข้ามาแก้ปัญหาดังกล่าวโดยใช้วินิฉัยชี้ขาดคดี ด้วยเหตุผลปรุงแต่งทางกำหมาย ซึ่งมีรายละเอียดลึกซึ้งกว่าเหตุผลทางศีลธรรม กฎหมายในยุคนี้ได้พัฒนาจนแยกออกจากศีลธรรมและจารีตประเพณี
แต่ไม่ได้แยกออกจากกันอย่างเด็ดขาด ทำให้สังคมไม่อาจรับรู้และเข้าใจกฎหมายในยุคนี้ได้ด้วยตนเอง
ดังนั้น กฎหมายในยุคนี้จึงปรากฎในรูปของหลักกฎหมายที่เกิดจากการวินิจฉัยชี้ขาดคดีนั่นเอง ซึ่งทำให้เกิดวิชานิติศาสตร์และวิชาชีพนักกฎหมายขึ้น
การจะเข้าใจกฎหมายในยุคนี้ได้ต้องศึกษาเล่าเรียนหลักกฎหมายเท่านั้น โดยเฉพาะเรื่องการให้เหตุผลทางกฎหมาย
ตัวอย่างกฎหมายของนักกฎหมายที่ปรากฎอยู่ในกฎหมายไทย เช่นการครอบครองปรปักษ์ หากพิจาราณาตามกฎหมายชาวบ้านแล้ว ทุกคนต้องเคารพสิทธิ์ของผู้อื่นจะไปแย่งทรัพย์สีนของผู้อื่นมาเป็นของตนไม่ได้
แต่เมื่อสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงมีความจำเป็นทางเศรษฐกิจมากขึ้น ทรัพย์สินจึงควรใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
ดังนั้น จึงเกิดหลักกฎหมายเรื่องการครอบครองปรปักษ์ขึ้น โดยมีหลักการว่า เจ้าของทรัพย์ปล่อยปละละเลยไม่ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินของตน
จนมีบุคคลอื่ยมาครอบครองและใช้ประโยชน์ในทัพย์สินนั้นมาเป็นระยะเวลานานพอสมควร ก็ควรให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นแก่บุคคลที่ครอบครอง
-ยุคกฎหมายเทคนิค เมื่อสังคมพัฒนามาอีกขั้นหนึ่ง กฎหมายชาวบ้านและกฎหมายของนักกฎหมายไม่เพียงพอต่อการแก้ปัญหาที่สลับซับซ้อนมากกว่าเดิม
จึงจำเป็นต้องมีกฎเกณพ์ที่บัญญัติขึ้นมาทันทีเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องอย่างรวดเร็ว กฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นใหม่นี้ จึงเรียกว่า “กฎหมายเทคนิค” กฎหมายเทคนิคเกิดขึ้นโดยกระบวนการนิติบัญญัติ
กล่าวคือ กฎหมายเทคนิคจะบัญญัติขึ้นโดยองค์กรเฉพาะที่ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ดังนั้น กฎหมายเทคนิคจึงปรากฏอยู่ในรูปของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
กฎหมายเทคนิคมีลักษณะสำคัญ 2 ประการ คือ 1) เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นทันทีเพื่อวัตถุประสงค์บางประการซึ่งเป็นเหตุผลทางเทคนิค
2) เป็นกฎหมายที่ไม่มีเหตุผลทางศีลธรรมหรือหลักกฎหมายคอยสนับสนุนอยู่ ดังนั้น กฎหมายเทคนิคจึงแยกออกจากศีลธรรมอย่างเด็ดขาดทำให้สังคมไม่สามารถเข้าใจกฎหมายเทคนิคได้ด้วยตนเอง
การจะเข้าใจกฎหมายเทคนิคได้นั้นต้องศึกษาจากเหตุผลทางเทคนิคที่ใช้ในบัญญัติกฎหมายฉบับบนั้นๆ กฎหมายเทคนิคที่ปรากฏในกฎหมายไทย
เช่น การกำหนดให้การสมรสต้องจดทะเบียน การกำหนดให้บุคคลบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ 20 ปีบริบูรณ์ กฎหมายจารจร หรือกฎหมายป่าไม่ เป็นต้น
เป็นยังไงบ้างครับสำหรับ หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย ที่ได้เรียนไปนั้น ผมขอบอกว่า การเรียนวิชานิติศาสตร์นั้น
ฟังดูยากและเนื้อหาเยอะ แต่ถ้าตั้งใจศึกษาดูแล้วจะพบว่า นิติศาสตร์นั้นเป็นเรื่องจิ๊บๆเลยล่ะครับ
พักสายตากันหน่อยนะครับ
กฎหมายมีหลักสำคัญอยู่ 4 ประการ คือ
1. กฎหมายต้องเป็นคำสั่ง
2. กฎหมายถูกกำหนดขึ้นโดยผู้มีอำนาจในสังคม
3. กฎหมายใช้บังคับและเป็นที่ทราบแก่คนทั่วไป
4. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับแก่ผู้ฝ่าฝืน
พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2544 อธิบายความหมายของกฎหมายไว้ว่า
กฎหมาย คือ กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้นหรือเกิดจากจารีตประเพณี อันเป็นที่ยอมรับนับถือเพื่อใช้ในการบริหารประเทศ
เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ
กฎหมายนั้นมีความหมายหลากหลายไม่มีความหมายตายตัว มีนักวิชาการกฎหมายหลายท่านพยายามให้ความหมายของกฎหมายไว้แตกต่างนอกเหนือจากนี้
เช่น กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฏหมายไทย "กฏหมาย คือ คำสั่งทั้งหลายของผู้ปกครองว่าการแผ่นดินต่อราษฏรทั้งหลาย เมื่อไม่ทำตาม ธรรมดาต้องลงโทษ"
ซึ่งพอสรุปได้ว่า กฎหมาย หมายถึง ข้อบังคับที่ผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐตราขึ้น เพื่อจัดระเบียบทางสังคม ควบคุมความประพฤติของพลเมืองให้อยู่ในข้อบังคับ
หากผู้ใดฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายได้บัญญัติไว้
วิวัฒนาการของกฎหมาย
วิวัฒนาการของกฎหมาย กฎหมายไม่ใช่สิ่งที่หยุดนิ่ง หากแต่มีวิวัฒนาการควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่ง"ทฤษฏีกฎหมายสามชั้น"
ได้แบ่งวิวัฒนาการของกฎหมายออกเป็ย 3 ยุค ดังนี้
1. ยุคกฎหมายชาวบ้าน
2. ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย
3. ยุคกฎหมายเทคนิค
-ยุคกฎหมายชาวบ้าน กฎหมายในยุคนี้เกิดขึ้นพร้อมกับสังคมมนุษย์ กฎหมายมีลักษณะที่ไม่ซับซ้อน เพราะสังคมในยุคนั้นยังไม่พัฒนาเท่าใดนัก
กฎหมายจะปรากฏอยู่ในรูปของจารีตประเพณี ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติอันดีงานของสังคม (The Good Old Law) โดยจารีตประเพณีนั้นมีองค์ประกอบ 2 ประการ ได้แก่
1) ต้องประัพฤติปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและเป็นเวลานาน และ2) ได้รับการยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องและรู้สึกว่าต้องปฏิบัติเช่นนั้น หากไม่ปฏิบัติก็รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่ผิด
กฎหมายชาวบ้านที่ปรากฏในกฎหมายไทย เช่น ห้ามลักทรัพย์ การห้ามฆ่าคน การอุปการะเลี้ยงดูบุตร เป็นต้น
จะสังเกตได้ว่ากฎหมายในยุคนี้เกิดจากเหตุผลธรรมดาของสามัญชนหรือเหตุผลในทางศีลธรรมซึ่งเข้าใจได้ด้วยสามัญสำนึก
-ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย เมื่อสังคมมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น กฎหมายก็สลับซับซ้อนตามไปด้วย กล่าวคือ เมื่อสังคมเกิดปัญหาซับซ้อนขึ้น กฎหมายชาวบ้าวไม่สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขันได้
นักกฎหมายจึงเข้ามาแก้ปัญหาดังกล่าวโดยใช้วินิฉัยชี้ขาดคดี ด้วยเหตุผลปรุงแต่งทางกำหมาย ซึ่งมีรายละเอียดลึกซึ้งกว่าเหตุผลทางศีลธรรม กฎหมายในยุคนี้ได้พัฒนาจนแยกออกจากศีลธรรมและจารีตประเพณี
แต่ไม่ได้แยกออกจากกันอย่างเด็ดขาด ทำให้สังคมไม่อาจรับรู้และเข้าใจกฎหมายในยุคนี้ได้ด้วยตนเอง
ดังนั้น กฎหมายในยุคนี้จึงปรากฎในรูปของหลักกฎหมายที่เกิดจากการวินิจฉัยชี้ขาดคดีนั่นเอง ซึ่งทำให้เกิดวิชานิติศาสตร์และวิชาชีพนักกฎหมายขึ้น
การจะเข้าใจกฎหมายในยุคนี้ได้ต้องศึกษาเล่าเรียนหลักกฎหมายเท่านั้น โดยเฉพาะเรื่องการให้เหตุผลทางกฎหมาย
ตัวอย่างกฎหมายของนักกฎหมายที่ปรากฎอยู่ในกฎหมายไทย เช่นการครอบครองปรปักษ์ หากพิจาราณาตามกฎหมายชาวบ้านแล้ว ทุกคนต้องเคารพสิทธิ์ของผู้อื่นจะไปแย่งทรัพย์สีนของผู้อื่นมาเป็นของตนไม่ได้
แต่เมื่อสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงมีความจำเป็นทางเศรษฐกิจมากขึ้น ทรัพย์สินจึงควรใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
ดังนั้น จึงเกิดหลักกฎหมายเรื่องการครอบครองปรปักษ์ขึ้น โดยมีหลักการว่า เจ้าของทรัพย์ปล่อยปละละเลยไม่ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินของตน
จนมีบุคคลอื่ยมาครอบครองและใช้ประโยชน์ในทัพย์สินนั้นมาเป็นระยะเวลานานพอสมควร ก็ควรให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นแก่บุคคลที่ครอบครอง
-ยุคกฎหมายเทคนิค เมื่อสังคมพัฒนามาอีกขั้นหนึ่ง กฎหมายชาวบ้านและกฎหมายของนักกฎหมายไม่เพียงพอต่อการแก้ปัญหาที่สลับซับซ้อนมากกว่าเดิม
จึงจำเป็นต้องมีกฎเกณพ์ที่บัญญัติขึ้นมาทันทีเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องอย่างรวดเร็ว กฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นใหม่นี้ จึงเรียกว่า “กฎหมายเทคนิค” กฎหมายเทคนิคเกิดขึ้นโดยกระบวนการนิติบัญญัติ
กล่าวคือ กฎหมายเทคนิคจะบัญญัติขึ้นโดยองค์กรเฉพาะที่ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ดังนั้น กฎหมายเทคนิคจึงปรากฏอยู่ในรูปของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
กฎหมายเทคนิคมีลักษณะสำคัญ 2 ประการ คือ 1) เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นทันทีเพื่อวัตถุประสงค์บางประการซึ่งเป็นเหตุผลทางเทคนิค
2) เป็นกฎหมายที่ไม่มีเหตุผลทางศีลธรรมหรือหลักกฎหมายคอยสนับสนุนอยู่ ดังนั้น กฎหมายเทคนิคจึงแยกออกจากศีลธรรมอย่างเด็ดขาดทำให้สังคมไม่สามารถเข้าใจกฎหมายเทคนิคได้ด้วยตนเอง
การจะเข้าใจกฎหมายเทคนิคได้นั้นต้องศึกษาจากเหตุผลทางเทคนิคที่ใช้ในบัญญัติกฎหมายฉบับบนั้นๆ กฎหมายเทคนิคที่ปรากฏในกฎหมายไทย
เช่น การกำหนดให้การสมรสต้องจดทะเบียน การกำหนดให้บุคคลบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ 20 ปีบริบูรณ์ กฎหมายจารจร หรือกฎหมายป่าไม่ เป็นต้น
เป็นยังไงบ้างครับสำหรับ หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย ที่ได้เรียนไปนั้น ผมขอบอกว่า การเรียนวิชานิติศาสตร์นั้น
ฟังดูยากและเนื้อหาเยอะ แต่ถ้าตั้งใจศึกษาดูแล้วจะพบว่า นิติศาสตร์นั้นเป็นเรื่องจิ๊บๆเลยล่ะครับ
พักสายตากันหน่อยนะครับ
- Landstadนักผจญภัยที่ใหญ่ยิ่ง
- จำนวนข้อความ : 367
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 13
วันเกิด : 04/05/1995
งานอดิเรก : เล่นไวโอลิน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Fri Mar 15, 2013 2:49 pm
รายงานตัวครับ
- fathrนักล่าปริศนา
- จำนวนข้อความ : 667
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 13
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Fri Mar 15, 2013 9:52 pm
สมัครไว้หรือเปล่าไม่รุ้ลงไว้ก่อนนะครับ 5555
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Fri Mar 15, 2013 10:48 pm
รายงานตัวฮะ
- NAMPEUNGนักเดินทางแห่งสายลม
- จำนวนข้อความ : 120
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 70
วันเกิด : 25/10/1999
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sat Mar 16, 2013 9:53 am
รายงานตัวคร้าาา
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sat Mar 16, 2013 11:31 am
รายงานตัวค่ะ
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sat Mar 16, 2013 12:10 pm
รายงานตัวค่ะ
- khaw dissaroผู้ชนะเกมสิบทิศ
- จำนวนข้อความ : 958
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 151
วันเกิด : 19/05/2002
งานอดิเรก : อ่านการ์ตูนและนวนิยายสืบสวนสอบสวน เล่นคอมพิวเตอร์
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sat Mar 16, 2013 3:56 pm
รายงานตัวค่ะ
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sat Mar 16, 2013 8:36 pm
รายงานตัวค่ะ ^^
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sat Mar 16, 2013 8:58 pm
รายงานตัวครับ
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sun Mar 17, 2013 1:21 am
ระรายงานตัวค่ะ =_=)/
- BlackZerosนักท่องเที่ยวสุดขอบฟ้า
- จำนวนข้อความ : 207
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 26
วันเกิด : 24/09/1996
งานอดิเรก : นอนกลิ้ง = =
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sun Mar 17, 2013 9:19 am
รายงานตัวค้าบบบ !
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Sun Mar 17, 2013 7:34 pm
รายงานตัวครับ
- Arsanicนักท่องเที่ยวสุดขอบฟ้า
- จำนวนข้อความ : 349
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 68
วันเกิด : 17/10/1997
งานอดิเรก : นอนหลับเป็นงานหลัก งานหนักต้องลอกการบ้านเพื่อน >.<
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Mon Mar 18, 2013 1:42 pm
รายงานตัวครับผมมมมม
- Mameawนักเดินทางแห่งสายลม
- จำนวนข้อความ : 101
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 10
วันเกิด : 05/09/1997
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Mon Mar 18, 2013 2:30 pm
รายงานตัวค่ะ
- milnearsนักท่องเที่ยวสุดขอบฟ้า
- จำนวนข้อความ : 168
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 19
วันเกิด : 01/04/1997
งานอดิเรก : อ่านหนังสือ,เล่นเกมส์,วาดรูป
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Tue Mar 19, 2013 4:29 pm
รายงานตัวค่ะ
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Wed Mar 20, 2013 8:20 pm
รายงานตัวนะครับ
- ผู้มาเยือนผู้มาเยือน
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Fri Mar 22, 2013 12:06 pm
รายงานตัว
- คิรัวร์นักล่าปริศนา
- จำนวนข้อความ : 807
ชื่อเสียง&น้ำใจ : 59
วันเกิด : 14/01/1992
งานอดิเรก : เล่นดนตรี อ่านหนังสือ เล่นคอม เล่นกีฬา
Re: หลักการสำคัญ ความหมาย และวิวัฒนาการของกฎหมาย
Tue Mar 26, 2013 11:42 pm
รายงานตัวค่ะ
Permissions in this forum:
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ
|
|